คำอธิบาย
สารบัญ
บทที่ ๑ แจ้งความเท็อ (มาตรา ๑๓๗)
๑. แจ้งความอันเป็นเท็จ
๒. แก่เจ้าพนักงาน
๓. ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย
๔. เจดนา
บทที่ ๒ ทำเอกสารเห็จ
๒.๑
เจ้าหนักงานทำเอกสารเท็จ (มาตรา ๑๖๒)
๑. เป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทำเอกสาร รับเอกสาร
หรือกรอกข้อความลงในเอกสาร
๒. รับรองเป็นหลักฐานว่าตนได้กระทำการอย่างใดขึ้น
หรือว่าการอย่างใดได้กระทำต่อหน้าตน อันเป็นเท็จ
๓. รับรองเป็นหลักฐานว่าได้มีการแจ้ง ซึ่งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง..
๔. ละเว้นไม่จดข้อความ ซึ่งตนมีหน้าที่ต้องจด หรือจดเปลี่ยนแปลง
ข้อความเช่นว่านั้น
๕. รับรองเป็นหลักฐาน ซึ่งข้อเท็จจริงอันเอกลารนั้น มุ่งพิสูจน์ความจริง
อันเป็นเท็จ
๖. เจตนา.
๒.๒ เจ้าพนักงานทำการปลอมเอกสาร (มาตรา ๑๖๑)
๑. เป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ทำเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสาร
หรือดูแลรักษาเอกสาร
๒. กระทำการปลอมเอกสาร
๓. โดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหน้าที่นั้น
๔. เจตนา
บทที่ ๓ แจ้งความเห็จเกี่ยวกับความผิดอาญา (มาตรา ๑๗๒)
๑. แจ้งข้อความอันเป็นเท็จ
๒. เกี่ยวความผิดทางอาญา
ต. แก่พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี พนักงานสอบสวน หรือเจ้าพนักงาน
ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา
๔. ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย
๕. เจตนา
บทที่ ๔ แจ้งว่าได้มีการกระทำผิด (มาตรา ๑๔๒)
๑. รู้ว่ามีได้มีการกระทำผิดเกิดขึ้น
๒. แจ้งข้อความแก่พนักงานสอบถวน หรือเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจถึบสวน
๓. ว่าได้มีกรกระทำความผิด
๔. เจตนา
บทที่ ๕ ป้องเท็จ (มาตรา ๑๗๕)
๑. เอาความอันเป็นเท็จ
๒. ฟ้องผู้อื่นต่อศาล
๓. ว่ากระทำความผิดอาญา หรือว่ากระทำความผิดทางอาญา
แรงกว่าที่เป็นความจริง
๔. เจตนา
บทที่ ๖ เบิกความเท็จ (มาตรา ๑๗๗)
๑. เบิกความอันเป็นเท็จ
อ. ในการพิจารณาคดีต่อศาล
๓. ถ้าความเท็จนั้น เป็นข้อสำคัญในคดี
๔. เจตนา
บทที่ ๗ ทำพยานหลักฐานเห็จ (มาตรา ๑๗๙)
๑. ทำพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ
๒. เพื่อให้พนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา
ก) เชื่อว่าได้มีความผิดอาญาอย่างใดเกิดขึ้น
ข) เชื่อว่าความผิดอาญาที่เกิดขึ้น ร้ายแรงกว่าที่เป็นความจริง
๓. เจตนา
บทที่ ๘ นำสืบ หรือแสดงพยานหลักฐานเห็จ (มาตรา ๑๔.)
๑. นำสืบ หรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ
๒. ในการพิจารณาคดี
๓.ถ้าเป็นพยานหลักฐานในข้อสำคัญในคดี
๔.เจตนา
บทที่ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา (มาตรา ๒๔๐-๒๔๙)
๑. ปลอมเงินตรา (มาตรา ๒๔๐)
๒. แปลงเงินตรา (มาตรา ๒๔๑)
๓. ทุจริตทำให้เหรียญกระษาปณ์มีน้ำหนักลดลง หรือนำเข้า นำออกใช้
หรือมีไว้เพื่อนำอกใช้ ซึ่งเหรียญดังกล่าว (มาตรา ๒๔๒)
๔. นำเข้าใจราชอาณาจักร ซึ่งเงินตราปลอม หรือเงินตราแปลง
(มาตรา ๒๔๓)
๕. มีไว้เพื่อนำออกใช้งเงินตราปลอม หรือเงินตราแปลง จึงตนได้มาโดยรู้ว่า
ป็นของปลอม หรือของแปลง (มาตรา ๒๔๔)
๖. ได้มาโดยไม่รู้ว่าเป็นเงินตราปลอม หรือแปลง ต่อมารู้แต่ยังขืนนำออกใช้
(มาตรา ๒๔๕).
๗. ทำ เครื่องมือหรือวัตถุสำหรับปลอมหรือแปลงเงินตราหรือพันธบัตร
หรือมีเครื่องมือหรือวัตถุเช่นว่านั้น เพื่อใช้ในการปลอมหรือแปลง
(มาตรา ๒๕๖)
๘. การกระทำเกี่ยวกับเงินตรา หรือพันชบัตรรัฐบาลต่างประเทศ
(มาตรา ๒๔๗)
๙. ผู้ปลอม หรือแปลงเงินตรา หรือพันธบัตรของรัฐบาลไทย
หรือของรัฐบาลต่างประเทศ ได้กระทำความผิดตามมาตราอื่น
ที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ด้วย
๑๐. เลียนเงินตรา (มาตรา ๒๔๙)
บทที่ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับควงตรา แสตมป์และตั๋ว
๑. ปลอมดวงตาแผ่นดิน รอยตราแผ่นดิน พระปรมาภิไธย
(มาตรา ๒๕๐)
๒. ปลอมดวงตรา รอยตราของทบวงการเมือง องค์การสาธารณะ
หรือของเจ้าพนักงาน (มาตรา ๒๕๑)
๓. ใช้สิ่งที่ตนเองหรือผู้อื่นปลอมขึ้นตามมาตรา ๒๕๐ หรือมาตภา ๒๕๑
(มาตรา ๒๕๒)
๕. ใช้ดวงตราหรือรอยตราของจริงโดยมิชอบ (มาตรา ๒๕๓)
๕. ปลอม หรือแปลงแสตมปัรัฐบาล (มาตรา ๒๕๔)
๖. นำเข้าในราชอาณาจักร ซึ่งของปลอมหรือแปลงดามที่ระบุในมาตรา ๒๕๐,
๒๕๑ หรือ ๒๕๔ (มาตรา ๒๕๕)
๗. ลบ ถอน หรือกระทำการใด ๆ แก่แสตมป์ ซึ่งใช้ไม่ได้แล้ว เพื่อให้ไข้ได้อีก
(มาตรา ๒๕๖)
๘. ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยน เสนอแลกเปลี่ยน ซึ่งแสตมปีที่ปลอมหรือ
แปลงตามมาตรา ๒๕๔ หรือแลดมป์ที่ลบ หรือถอนตามมาตรา ๒๕๖
(มาตรา ๒๕๗)
๙. ปลอมหรือแปลงตั๋วโดยสารในการขนส่งสาธารณะ หรือลบ ถอน
หรือกระทำการใด ๆ แก่ตั๋วเช่นว่านั้น ซึ่งใช้ไม่ได้แล้ว เพื่อให้ใข้ได้อีก
(มาตรา ๒๕๘)
๑๐. ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรือเสนอแลกเปลี่ยน ซึ่งตั๋ว
อันเกิดจากการกระทำผิดตามมาดรา ๒๕๘ หรือมาตรา ๒๕๙
(มาตรา ๒๖๐)
๑๑. ทำเครื่องมือหรือวัตถุสำหรับปลอมหรือแปลง หรือมีเครื่องมือ หรือวัตถุ
เพื่อใช้ในการปลอมหรือแปลงแสดมปัรัฐบาล (ตามมาตรา ๒๕๔)
ตั๋วโดยสารในการชนส่งสาธารณะ (ตามมาตรา ๒๕๘) หรือตั๋ว
ที่จำหน่ายแก่ประชาชน ในการผ่านเข้าสถานที่ (ตั๋วตามมาตรา ๒๕๙)
(มาตรา ๒๖๑)
บทที่ ๑๑ ความเผิดเกี่ยวกับเลกสาร (มาตรา ๒๖๔-๒๖๖)
๑. ปลอมเอกสาร (มาตรา ๒๖๔)
๒. ปลอมเอกสารสิทธิ หรือปลอมเอกสารราชการ (มาตรา ๒๖๕)
๓. ปลอมเอกสารพิเศษ (มาตรา ๒๖๖)
บทที่ ๑๒ แจ้งให้เจ้าพนักงานจกข้อความอันเป็นเท็จ ใช้เอกสารปถอมและ
ทำคำรับรองเอกชนอันเป็นเห็จ (มาตรา ๒๖๗-๒๖๙)
๑. แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จลงในเอกสาร ซึ่งมีวัตถุประสงค์
สำหรับใช้เป็นพยานหลักฐาน (มาตรา ๒๖๗)
๒. ใช้ หรืออ้างเอกสารปลอม หรือเอกสารที่แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความ
เท็จลงในเอกสารนั้น (มาตรา ๒๖๘)
๓. ผู้มีวิชาชีพทำคำรับรองเป็นเอกสารอันเป็นเท็จ (มาตรา ๒๖๙)
บทที่ ๑๓ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
๑. ความหมายของคำว่า “บัตรอิเล็กทรอนิกส์”
๒. การบังคับใช้กฎหมายนี้แก่การกระทำความผิดนอกราซอาณาจักร
๓. ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา ๒๖๙/๑)
๔. ความผิดฐาน “ทำ” เครื่องมือหรือวัตตุสำหรับปลอมหรือสำหรับให้ได้
ข้อมูลในการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกล์ “มี” เครื่องมือหรือวัตถุ
เช่นว่านั้น เพื่อใช้หรือเพื่อให้ได้ข้อมูลในการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์
(มาตรา ๒๖๙/๒)
๕. ความผิดฐาน “นำเข้าใน” หรือ “ส่งออกไป” นอกราชอาณาจักร
ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม หรือเครื่องมือหรือวัดถุสำหรับปลอมบัตร
อิเลีกทรอนิกส์ หรือเครื่องมือหรือวัตถุสำหรับให้ได้ข้อมูลในการปลอม
บัตรอิเล็กทรอนิกข์ (มาตรา ๒๖๙/๓)
๖. ความผิดฐาน “ใช้” หรือ “มีไว้เพื่อใช้” ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม
ความผิดฐาน “จำหน่าย” หรือ “มีไว้เพื่อจำหน่าย” ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์
ปลอม (มาตรา ๒๖๙/๔.)
๗. ความผิดฐานใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิซอบ
(มาตรา ๒๖๙/ ๕)
๘. ความผิดฐานมีไว้เพื่อนำออกใช้ ส่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิขอบ
(มาตรา ๒๖๙/๖)
๙. เหตุฉกรรจ์ของการกระทำความผิดฐานต่างๆ (มาตรา ๒๒๙/๓)
๑๐. ลักษณะพิเศษบางประการของกฎหมาย
๑๑. ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
บทที่ ๑๔ ผู้เสียหาย
๑. ผู้เสียนายในความผิดฐานแจ้งความเท็จ
๑) การแจ้งความเท็จเพื่อจดทะเบียนสมรสช้อน
๒) แจ้งความเท็จเกี่ยวกับการจัดการสินสมรส
๓) แจ้งความเท็จเกี่ยวกับการจัดการสินส่วนตัว
๔) การแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จคุ้มครองเอกชน
ที่ได้รับความเสียหายเป็นพิเศษเช่นกัน
๕) การแจ้งความเห็จว่าต้นฉบับเอกสารสิทธิสูญหาย
เพื่อออกเอกสารสิทธิฉบับใหม่
๖) การแจ้งความเท็จเพื่อนำหลักฐานการแจ้งความไปเรียกร้อง
ค่าสินไหมทดแทนจากผู้รับประกันภัย
ส) การแจ้งความเท็จว่าเอกสารสิทธิสูญหาย
ซึ่งกระทบสิทธิของเอกชน
๘ ) การแจ้งความเท็จทำให้เอกชนคนใดถูกสอบสวนดำเนินคดี
๙) การแจังความเท็จทำให้เจ้าของสถานที่ถูกเจ้าพม้กงาน
ทำการตรวจค้น
๑๐) ต้องเจาะจงถึงโจทก์
๑๑) ถือกรรมสิทธิ์แทน
๑๒) ส่งเอกสารเป็นพยาน
๑๓) เช่ารถยนต์ยักยอก
๑๔) ผู้จะซื้อที่ดิน
๑๕) พยานไม่มาเบิกความ
๒. การดำเนินกระบวนพิจารณาอันเป็นเท็จต่อคาล
๑) กรณีอำนาจหน้าที่ของศาล
๒) การเสนอหลักประกันในการขอทุเลาการบังคับคดี
ดามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
๓. ผู้เสียหายในความผิดฐานเบิกความเท็จและฐานนำสืบ
หรือแสตงพยานหลักฐานเท็จในการพิจารณาคดี
๑) บุคคลภายนอกซึ่งมีใช่เป็น “คู่ความในคดี” ไม่เป็นผู้เสียหาย
๒) การเปิกความหรีอนำสืบพยานหลักฐานเท็ในคดีพิพาทเกี่ยวด้วย
กรรมสิทธิ์ในที่คิน อาจกระทบสิทธิบุคคลภายนอกซึ่งมีได้เป็น
คู่ความในคดีได้ด้วย
๓) ทนายความหรือผู้รับมอบอำนาจเป็นเพียงตัวแทน
ของคู่ความในคดี
๔) แม้หาลไม่เชื่อความเท็จที่จำเลยเบิกความหรือนำสืบ
คู่ความก็เป็นผู้เสียหาย
๔. ผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับการปลอมเอกสาร
และบัตรอิเล็กทรอนิกส์
๑) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมเอกสาร หรือปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์
มุ่งคุ้มครองประชาชนหรือรัฐมีให้ใด้รับความเสียนายจากการปลอม
หรือใช้เอกสารปลอม
๒) จำเลยปลอมหนังสือลางานของผู้ตายส่งไปถึงผู้บังคับบัญชา
และปลอมจดหมายของผู้ตายส่งไปถึงบุตรว่า ต้องไปฝึกลมาธิ
แม้น่าจะเกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นก็ตาม แต่บิดาของผู้ตาย
ก็ไม่เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานนี้
๓) ผู้ถูกปลอมลายมืออาจไม่เป็นผู้เสียหายในความผิดฐานปลอม
เอกสาร
๔) หนังสือมอบอำนาจปลอมไม่ก่อให้เกิดสิทธิทางกฎหมาย
ผู้เสียหายในความผิดเกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิดปลอม
ภาคผนวก
๑. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๑๓๗
๒. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๑๓๗, ๒๖๗, ๓๒๖
๓. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาดรา ต๓๗, ๒๖๗
๔. ตัวอย่างคำห้อง ตามมาตรา ๑๓๗, ๒๖๔, ๒๖๘
๕. ตัวอย่างคำห้อง ตามมาตรา ๑๓๗. ๑๗๒, ๑๗๓
๖. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๑๓๗, ๒๖๗
๗. ตัวอย่างคำฟ้อง คำเบิกความ ตามมาตรา ๑๓๗. ๒๖๗
๘. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๑๗๒, ๑๗๓
๙. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๒๖๔, ๒๖๘
๑๐. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๒๖๗
๑๑. ตัวอย่างคำร้อง ตามมาตรา ๒๖๔, ๒๖๘
๑๒. ตัวอย่างบันทีกคำฟ้องด้วยวาจา ตามมาตรา ๒๖๔, ๒๖๘
๑๓. ตัวอย่างคำฟ้อง ตามมาตรา ๒๖๗, ๓๕๐
|
|
เงื่อนไขอื่นๆ | |
Tags |