ส่วนลดพิเศษ 10% บริการส่งด่วนฟรี หาเจอทุกเล่ม บริการส่งหนังสือตามสั่ง บริการเก็บเงินปลายทาง

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 20 มิ.ย. -11 ก.ค. 2567 รวม 111 อัตรา,

แชร์

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับสมัครสอบข้าราชการ 20 มิ.ย. -11 ก.ค. 2567 รวม 111 อัตรา,

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ลิงค์: https://ehenx.com/18156/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน,นายช่างปฏิบัติงาน(ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า),นายช่างปฏิบัติงาน(ปฏิบัติงานทางช่างโยธา),
ระดับการศึกษา: ปวส.
อัตราเงินเดือน: 12,650-
อัตราว่าง: 111
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 20 มิ.ย. – 11 ก.ค. 2567
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน

ด้วยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคล เข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจ ตามความในมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ หนังสือคณะกรรมการ ข้าราชการรัฐสภา ที่ ๔/๒๕๕๘ (ว ๑) ลงวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และที่ ๕๙/๒๕๖๑ (ว ๑๕) ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ เรื่อง การแก้ไข เพิ่มเดิมหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียด เกี่ยวกับการสอบแข่งขัน จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการ รัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 28 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 15 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 54 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12650- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน

1) มีสภาพร่างกาย เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก ความแข็งแรง ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ และ
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ
3) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือเลขานุการ และ
2) มีความสามารถในการจดรายงานการประชุม และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์ มีความสามารถ
ใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นได้อย่างเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน รวมทั้งพิมพ์ภาษาไทยได้ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า 35 คำ และพิมพ์ภาษาอังกฤษได้ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า 25 คำ และ
3) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ
2) มีความสามารถใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม และสามารถพิมพ์ดีดภาษาไทยไม่น้อยกว่านาทีละ 25 คำ และภาษาต่างประเทศไม่น้อยกว่านาทีละ 25 คำ และ
3) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาบัญชี หรือพณิชยการ หรือเลขานุการ หรือบริหารธุรกิจ หรือช่างโยธา หรือช่างก่อสร้าง หรือช่างเครื่องยนต์ หรือช่างเครื่องกล และ
2) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาทางบัญชี หรือพณิชยการ หรือเลขานุการ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ หรือเลขานุการ หรือประชาสัมพันธ์ หรือการโฆษณา และ
2) เป็นผู้มีเสียงเหมาะสมสำหรับใช้ในการกระจายเสียงได้ และ
3) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาทางช่างไฟฟ้า หรือเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า และ
2) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาทางเทคนิควิศวกรรมสำรวจ หรือช่างสำรวจ หรือช่างก่อสร้าง หรือช่างสำรวจโยธา และ
2) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ขึ้นไป

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านรักษาความสงบเรียบร้อยและรักษา ความปลอดภัยบุคคลและทรัพย์สินภายในบริเวณรัฐสภา ปฏิบัติงานตามคำสั่งหรือตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานรักษาความสงบเรียบร้อย และรักษาความปลอดภัย โดยการรักษาการณ์ใน บริเวณพื้นที่ปกติ เช่น ควบคุมการเข้า – ออก ของบุคคล และยานพาหนะบริเวณรอบนอก จัดการจราจรใน รัฐสภา วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎรให้เป็นระเบียบ เป็นต้น หรือ รักษาการณ์ในบริเวณพื้นที่ค่อนข้างสำคัญ เช่น หน้าห้องรองประธานรัฐสภา รอบห้องประชุมรัฐสภาในวันที่มีการประชุม เป็นต้น หรือรักษาการณ์ในบริเวณ พื้นที่สำคัญสูง เช่น หน้าห้องประธานรัฐสภา ภายในห้องประชุมรัฐสภาในวันที่มีการประชุม หรือเป็นผู้ช่วย หัวหน้าชุดเวรรักษาการณ์ในการกำกับ เข้าเวรรักษาการณ์
(๒) ติดตามอารักขาบุคคล และรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินเกี่ยวกับงานของรัฐสภา วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร
(๓) หาข่าวที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
(๔) แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเร่งด่วนฉุกเฉินภายในขอบเขตที่กำหนด และรายงานสภาพปัญหา ที่มีผลกระทบต่อการรักษาความปลอดภัย ให้ผู้บังคับบัญชาทราบโดยทันที
(๔) รายงานการปฏิบัติงานประจำวัน
(๖) ริเริ่มเสนอความเห็นเกี่ยวกับการจัดเวรรักษาการณ์ การปฏิบัติงาน และการประสานงาน รักษาความปลอดภัย
๒) ด้านการบริการ
ตอบคำถาม ขี้แจง ให้คำแนะนำและอำนวยความสะดวกเรื่องต่าง ๆ ในเรื่องที่รับผิดชอบแก่บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่า
เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์ โดยใช้ความรู้ความสามารถในการใช้คำที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาภาษาไทย และรวบรวมเป็นรายงานการประชุม
(๒) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให็ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ บันทึกข้อมูล หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบันทึกข้อมูลและพิมพ์งาน งานบริการทั่วไป เข่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดทำทะเบียน ควบคุม ปริมาณและการจัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐาน หนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวิใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) บันทึกข้อมูล พิมพ์งาน หรือผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสบุนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขันตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐาน และเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่าง และตรวจสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญขา ในหน่วยงาน
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ขี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัสดุให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใสตรวจสอบได้
๒) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดขอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน ต่างหน่วยงาน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการ หรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไป ตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณ ประจำปีของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้องในการ ปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกขน หรือประขาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน
๒) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็น ประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน


ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านประกาศและรายงานข่าว ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) อ่านข่าว ประกาศ บทความ สารคดี และข้อความภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา และสื่ออื่น ๆ
(๒) รวบรวม เรียบเรียงข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวประกวดราคา เพื่อเผยแพร่ออกอากาศ ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา และสื่ออื่น ๆ
(๓) ติดตาม รายงานข่าว สถานการณ์ ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ เพื่อออกอากาศทางสถานี วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา และลื่ออื่น ๆ
(๔) จัดทำรายงาน เพื่อเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๕) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวซ้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๒) ด้านการบริการ
เป็นผู้บรรยายในการถ่ายทอดเสียงนอกสถานที่หรือในงานสำคัญต่าง ๆ หรือเป็นพิธีกรตามที่ ได้รับมอบหมาย


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานช่างทางใดทางหนึ่ง ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบ ไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ คอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แกไขปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานช่างทางใดทางหนึ่ง ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรงตาม หลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับ มอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก่ไขปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

วิชาที่สอบ

เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๙
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย และการ บริหารจัดการรักษาความปลอดภัย
ลอบปฏิบัติ
– ทดสอบสภาพร่างกาย
เกณฑ์การทดสอบสภาพร่างกาย
ประเภทการทดสอบ    เกณฑ์การตัดสิน    
    ชาย    หญิง
๑. วิ่งระยะไกล ๑,๒๐๐ เมตร    ไม่เกิน ๑๑ นาที    ไม่เกิน ๑๓ นาที
๒. ลุกนั่ง (Sit – up) ระยะเวลา ๒ นาที    ไม,ตํ่ากว่า ๔๒ ครั้ง    ไม่ตํ่ากว่า ๔๐ ครั้ง
๓. ดันพื้น ระยะเวลา ๒ นาที    ไม่ตํ่ากว่า ๓๒ ครั้ง    ไม่ตํ่ากว่า ๑๔ ครั้ง
๔. ว่ายนํ้า ระยะทาง ๒๕ เมตร    ไม่เกิน ๒ นาที    ไม่เกิน ๓ นาที
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะ
ตำแหน่ง ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบ ข้อเขียนด้วยคะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ แล้ว จะต้องสอบปฏิบัติผ่านตามเกณฑ์การทดสอบสภาพร่างกาย ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ทีมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมช้าราชการรัฐสภา
สอบปฏิบัติ
ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (ตามเกณฑ์ที่ ก.ร. กำหนด)
(๑) จดรายงานการประชุม และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์
(๒) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (๓) พิมพ์ดีดภาษาไทย นาทีละไม่น้อยกว่า ๓๕ คำ
(๔) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ นาทีละไม่น้อยกว่า ๒๕ คำ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่งเจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสิน ของการสอบข้อเขียนด้วยคะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ แล้ว จะต้องสอบปฏิบัติผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัคนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราขการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๒) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
ลอบปฏิบัติ (ตามเกณฑ์ที่ ก.ร. กำหนด)
๑) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่โซ้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ๒) พิมพ์ดีดภาษาไทย ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
๓) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใข้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบข้อเขียน ด้วยคะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ แล้ว จะต้องสอบปฏิบัติผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบ แข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกํไขเพิ่มเติม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราขบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหาร พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และระเบียบรัฐสภา ว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งข้น เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบพี่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๔๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๔๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราขการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(ด) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญ้ติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม (๔) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวซ้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการประกาศและรายงานข่าวทางวิทยุกระจายเสียง
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการเขียนข่าว ประกาศ บทความ สารคดี และข้อความภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ
ลอบปฏิบัติ
– การทดสอบเสียง การอ่านฟ้งเสียง เข่น อักขรวิธี ความถูกต้อง ความขัดเจน การนำเสนอ เลียง เป็นต้น
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านการสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่งผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบข้อเขียน ด้วยคะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ แล้ว จะต้องสอบปฏิบัติผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิ เข้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า)

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา
๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง หม้อแปลงและมอเตอร์ ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และระบบคอมพิวเตอร์
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
(๓) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแบบและประมาณราคาระบบไฟฟ้า
(๔) ความรู้เกี่ยวกับวิธีซ่อมบำรุงรักษาและการป้องกันระบบไฟฟ้า
๓.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐0 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นายช่างปฏิบัติงาน (ปฏิบัติงานทางช่างโยธา)

๑) ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียนที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราขบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบช้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก่ไขเพิ่มเดิม
(๓) กฎ ก.ร. และระเบียบ ก.ร. ที่เกี่ยวข้อง
(๔) ประมวลจริยธรรมข้าราชการรัฐสภา

๒) ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบ ประมาณราคาค่าก่อสร้าง การบริหารงานก่อสร้าง การสำรวจ (๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้าง
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการตรวจและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร ถนน งานสาธารณูปโภค และการทดสอบวัสดุด้านวิศวกรรมโยธา
๓.๒ การสอบแข่งข้นเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) ทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือ วิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคล ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


วิธีการสมัครงานข้าราชการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 20 มิ.ย. – 11 ก.ค. 2567 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

ตำแหน่ง: เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,ผู้ประกาศและรายงานข่าวปฏิบัติงาน,นายช่างปฏิบัติงาน(ปฏิบัติงานทางช่างไฟฟ้า),นายช่างปฏิบัติงาน(ปฏิบัติงานทางช่างโยธา),
ระดับการศึกษา: ปวส.
อัตราเงินเดือน: 12,650-
อัตราว่าง: 111
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร ()
การสอบภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของ ก.พ.: **เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**

วิธีการสมัครงานข้าราชการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 20 มิ.ย. – 11 ก.ค. 2567 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร


คลิกเพื่อค้นหาคู่มือ/หนังสือเตรียมสอบสำหรับ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

Facebook Comments

แชร์
Cart
Your cart is currently empty.